พอดแคสต์คือชุดตอนของไฟล์เสียงดิจิทัล คล้ายกับรายการวิทยุ แต่ผู้ฟังสามารถเลือกฟังได้ตามเวลาที่ต้องการ เนื้อหาของพอดแคสต์มีความหลากหลาย เช่น การศึกษา ข่าวสาร ธุรกิจ การเงิน เทคโนโลยี กีฬา สุขภาพ ความรัก ความสัมพันธ์ ศาสนา วัฒนธรรม สามารถรัมได้หลายช่องทาง เช่น Spotify YouTube Podbean Soundcloud
จึงมีแนวคิดอยากจะร่วมกับนักเรียนทำรายการพอดแคสต์ขึ้นมาเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนของนักเรียนเพื่อใช้เป็นสื่อทบทวน และสรุปเนื้อหาในเพื่อให้นักเรียนได้ มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาได้ใช้ทักษะการพูด ทักษะการเล่าเรื่อง ได้แสดงออก และนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ในรายการพอดแคสต์นี้จะพูดถึงบทสรุปเนื้อหาเรื่อง วิวัฒนาการ จากหนังสือ สสวท. ชีววิทยา 2 มีผู้ดำเนินรายการทั้งหมด 20 คน ซึ่งก็คือนักเรียนในชั้นเรียนทั้งหมด สามารถฟังได้จากแพลตฟอร์ม YouTube
โดยแบ่งออกเป็นจำนวน 20 ตอน ซึ่งเป็นผลงานของนักเรียนที่ตัดต่อเอง รวบรวมข้อมูลเอง ทำเองทั้งหมด และนักเรียนก็ทำได้ดีทุกๆคนเลยซึ่งครูจะการสาธิตให้นักเรียนดูก่อนใน EP. 0
0. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
https://youtu.be/ThTxScii-P4?si=DJKTJ7eBz2Sv6Hpu
ดำเนินรายการโดย ปรเมษฐ์ สุโรพันธ์
1. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต : ซากดึกดำบรรพ์
https://youtu.be/0J493J7CGO0?si=09FoOR19I_RLjmq-
ดำเนินรายการโดย ณัชพล กชฐากุล
2. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต : กายวิภาคเปรียบเทียบ
https://youtu.be/EoNMQr23-IQ?si=S9FTBpTT029I_ASr
ดำเนินรายการโดย อนุศิษฎ์ ศักดิ์โชติธิติกุล
3. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต : วิทยาเอ็มบริโอ
https://youtu.be/NeoU2gig5ik?si=0MjZn2LHVTwi5xNL
ดำเนินรายการโดย ฐิติมา คุณานาถอัปสร
4. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต : ชีววิทยาโมเลกุล
https://youtu.be/YKp8tlG7roA?si=wVMxo1NjappygC8e
ดำเนินรายการโดย วศินี ชื่นบัวตูม
5. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต : การแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตทางภูมิศาสตร์
https://youtu.be/m9nWEde7axg?si=OyZU48LXQeQa7G-6
ดำเนินรายการโดย ณัฐณิชา ฟ้าสว่างไพรกูร
6. แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ก
https://youtu.be/b3HZfqn1DeE?si=tALvp-jhFKoHJoXF
ดำเนินรายการโดย ธวัลยา กนกกรปิ่นชัย
7. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยะรรมชาติ
https://youtu.be/OF6nGq--ADQ?si=VQ9r-4lICRanXR6k
ดำเนินรายการโดย ปราณิสา ประทานเงินทอง
8. แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน
https://youtu.be/BC4QKizS1Gg?si=7_cFk-IquKU0LIf6
ดำเนินรายการโดย อัญชลีกร ประทานเงินทอง
9. พันธุศาสตร์ประชากร
https://youtu.be/wu1hQhIXFlo?si=jzKYIjDTlTtZ6_jU
ดำเนินรายการโดย ปวีณ์นุช ขจรสุขบุญเขต
10. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล : เจเนติกดริฟต์แบบสุ่ม
https://youtu.be/BI6BxJA4roA?si=Duov7Wxw7wh9zVQE
ดำเนินรายการโดย ปัญญาพร พงศ์ไพรกุล
11. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล : การถ่ายเทยีน
https://youtu.be/AQtabmArz9E?si=HcRD40MrDatKStzY
ดำเนินรายการโดย นิตยา พนารุ่งทอง
12. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล : การผสมพันธุ์แบบไม่สุ่ม
https://youtu.be/fSU9Gk3UbAI?si=BSKHUcVh1gouEx3r
ดำเนินรายการโดย พรนภัส สิริจรูญ
13. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล : มิวเทชัน
https://youtu.be/qQv6mS8g9Mo?si=etVw4eTxArtafgzC
ดำเนินรายการโดย ตลุยดา โกเมศบุษรา
14. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล : การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
https://youtu.be/Hl1J8TSri_4?si=BqdPD2K2h0rw1vYT
ดำเนินรายการโดย กัญญาณัฐ วัชรไพรงาม
15. ความหมายของสปีชีส์
https://youtu.be/R_7dTRwbc4A?si=YpzXkrYZnZmSgv9m
ดำเนินรายการโดย วรวรรณ ศศิธรบำรุง
16. การแยกเหตุการณ์สืบพันธุ์ : ก่อนระยะไซโกต
https://youtu.be/VlppPYZP3-s?si=dh_7wLhBLqrPUoUu
ดำเนินรายการโดย ระวิวรรณ ลลิตตาคม
17. การแยกเหตุการณ์สืบพันธุ์ : หลังระยะไซโกต
https://youtu.be/NKMoHArDTV8?si=kbX8p3Hu_6yPtD8O
ดำเนินรายการโดย ทินประภา ภูผาอนุรักษ์
18. ความหลากหลายทางชีวภาพ
https://youtu.be/hkwQnY4LUZ8?si=S9afEEMpjugpPgQD
ดำเนินรายการโดย อรพิน เกษมเลิศตระกูล
19. กำเนิดสปีชีส์ใหม่ : แบบแอลโลพาทริก
https://youtu.be/TjISFE5VnkQ?si=NyWeYAw87_dBaLgh
ดำเนินรายการโดย นฤมล ชนอนุรักษ์ไพร
20. กำเนิดสปีชีส์ใหม่ : แบบซิมพาทริก
https://youtu.be/yK_bZK7-5W0?si=6IFq3d9xMMf8wCzL
ดำเนินรายการโดย ยลดา ธนเดโชกุล
ได้รับผิดชอบ โดยใช้ทักษะรอบด้าน ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดสมรรถนะทั้งด้านการสื่อสารเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจสิ่งที่นักเรียนจะสื่อสาร การคิดขั้นสูง มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยี เช่น การตัดต่อวิดีโอ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเรียนรู้ได้ตามศักยภาพของตัวผู้เรียน
แสดงความเห็นกับสมาชิกใน insKru
เก็บไอเดียไว้อ่าน และอีกมากมาย
ได้แรงบันดาลใจเต็มๆ เลยใช่มั้ย?
บันทึกแรงบันดาลใจที่ได้รับเก็บไว้ไม่มีลืมผ่านการเขียนไอเดียเลย!