163 ไอเดีย
ตะลุยอวกาศกับมนุษย์ต่างดาวนอตแนต
หลายคนอาจสงสัยว่า เอ๊ะ? อะไรอยู่บนท้องฟ้าบ้างนะ? วันนี้นอตแนตจะพาทุกคนชี้ดาวกัน เพื่อเปิดโลกกว้าง และสร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก ๆ ชมชอบดาราศาสตร์ ซึ่งเด็ก ๆ จะได้รู้เรื่องราวความเป็นมาของการกำเนิดเอกภพ ดวงดาว กลุ่มดาว รวมไปถึงนิทานดวงดาว ตำนานเล่าขานให้เด็ก ๆ ว้าว~ กันนะครับ! ^ ^ จับเลเซอร์ชี้เองไปเลย~
ไอติมเขย่าโลกกับสถานะของสาร
การเรียนแบบลื่นไหลเป็นสเตอรี่ ทำไปคุยไป ฉวยโอกาสต่อเติมความอยากรู้
“เมื่อวานเธอไปทำอะไรมา !!”
การเล่าไทม์ไลน์ช่วงโควิดประยุกต์เข้ากับเกมและการสะท้อนผลตนเอง เพื่อให้นักเรียนได้คิดประโยคภาษาญี่ปุ่น แล้วถ่ายทอดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
ปรับมุมมองสร้างความเข้าใจในตัวลูกด้วย Logic Tree 3
กิจกรรมนี้จะช่วยให้พ่อแม่และผู้ปกครองนั้นได้เปิดมุมมองเกี่ยวกับบุตรหลานของตนเอง เพื่อที่เราจะได้เข้าใจเว่าเขามุมมองของเราและของเด็กๆที่มีต่อตัวเขาเองนั้นเป็นอย่างไร ? วันนี้ผมจะนำเสนอการใช้ Logic Tree 3 ในการทำกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในตัวเด็กและครอบครัวกันครับ
ระบบสุริยะจักรวาลกับการออกแบบ EDU Game
ระบบสุริยะจักรวาลกับการออกแบบ EDU Game เป็นงานออกแบบบอร์ดเกมครั้งแรกๆของเนตรที่อยากลองเอามาแบ่งปันค่ะ แน่นอนว่าอาจจะยังไม่ได้ดีมาก แต่มาแบ่งปันที่มาที่ไป และแรงบันดาลใจกับการสร้างเกมเพื่อการศึกษากัน~
แดงโซดาซาบซ่าถึงใจ
ใช้บทบาทสมมติในการให้นักเรียนเป็นเจ้าของคาเฟ่ โดยช่วงนั้นเป็นช่วงหน้าร้อน เมนูยอดนิยมที่ผู้คนนิยมคือแดงโซดา จึงให้ ให้นักเรียนช่วยหาสูตรเพื่อนำมาขายในร้านของตน และครูคือลูกค้าจะคอยเดินชิมน้ำแดงของนักเรียนว่าแดงโซดาของแต่ละกลุ่ม ถูกใจลูกค้าหรือยัง (กิจกรรมนี้จัดในปีการศึกษา 2562 ก่อนที่จะมีโควิด 19)
กิจกรรมแต่งกลอนสะท้อนความรู้
การย่อความรู้ทั้งหมดให้เล็กลงผ่านการแต่งกลอน ทำให้นักศึกษาเกิดความท้าทาย ได้ใช้องค์ความรู้และทักษะที่บูรณาการทั้งความรู้ในรายวิชา ความรู้ภาษาไทย และศิลปะ ได้ทำงานกลุ่ม เกิดความภูมิใจ โดย อาจารย์ ดร.จุฬินฑิพา นพคุณ อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
Makerspace room ห้องเรียนอาร์ตๆสร้างสรรค์ด้วยSTEAM
การทำหนังสือหน้าเดียวโดยใช้กระบวนการ STEAM Design Process เป็นกระบวนการที่ไม่ยากต่อเด็กและเป็นการกระตุ้น “ทักษะการคิดแบบสร้างสรรค์” รวมทั้งบูรณาการในรายวิชา ภาษาไทย ศิลปะ เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันในหัวข้อ Covid-19 (เครดิตไอเดียจากครูก้อย)